30 กันยายน 2552

การหาเงินด้วย Thai Adsense

เครดิต by gatzaa
Thai adsense คืออะไร Google AdSense คือบริการจาก Google ที่ให้ผู้ที่มีเว็บไซต์ สามารถหารายได้โดยการนำ Code ที่ได้จากการสมัครเป็นสมาชิกของ Google มาใส่ไว้ที่เว็บไซต์ของตนเอง ซึ่ง Code นั้นจะเป็น โฆษณาที่ส่งมาจาก Google โดยโฆษณานั้น ๆ จะเป็นโฆษณาที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับเนื้อหาของเว็บไซต์ของคุณ ตัวอย่างเช่นถ้าเว็บไซต์ของคุณเป็นเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว โฆษณาที่ส่งมาจาก Google ก็อาจเป็นเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ โรงแรม,สายการบิน เป็นต้นโฆษณาที่ส่งมาจาก Google นั้น ๆ มีทั้งแบบ Text ,รูปภาพ และมีหลายขนาด ให้คุณได้เลือก นอกจากนั้นยังสามารถเลือกรูปแบบสีได้ตามความต้องการ เพื่อความเหมาะสมกับเว็บไซต์ของคุณแล้วโฆษณาต่าง ๆ เหล่านั้นมาจากไหน ??? หลายคงอาจสงสัย โฆษณาต่าง ๆ เหล่านั้นมาจากการทำ Google Adwords ซึ่งเป็นอีกหนึ่งบริการของ Google ที่ให้ผู้ประกอบการต่าง ๆ ที่ต้องการขายสินค้าหรือบริการต่าง ๆ โฆษณาสินค้าของตนเอง ผ่าน Search Engine ของ google รวมถึงเว็บไซต์อื่นๆ ที่นำ Google Adsense ไปติด เพื่อให้โฆษณาของตนเองอยู่ในตำแหน่งที่เด่น (เมื่อ Search ใน Google) กว่าข้อมูลอื่นที่ได้ผลลัพท์จากการค้นหา

สรุปหลักการง่ายๆ : Google AdSense เป็นวิธีหาเงินง่ายๆ ด้วยเว็บไซต์/บล็อก โดยการนำโฆษณาที่ได้จาการสมัคร AdSense มาวางไว้ที่หน้าเว็บไซต์/บล็อกของคุณ เพื่อให้ผู้ชมเข้ามาดูหรือเข้ามาคลิก คุณก็ได้เงินทุกๆ ครั้งที่มีการคลิกโฆษณาหรือแสดงโฆษณานั้น แม้จะไม่มีการซื้อขายใดๆ เกิดขึ้นก็ตาม ยิ่งมีผู้เข้ามามากและคลิกที่โฆษณามาก คุณก็ได้เงินมากตามไปด้วย

หากคุณพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ที่จะเปลี่ยนอนาคตคุณให้ดีขึ้น โดยที่
1. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น
2. ไม่ต้องเสียเวลาเข้าอบรม
3. ไม่ต้องเสียค่ารถค่าเรือเดินทาง
4. ไม่ใช่การซื้อของ
5. ไม่ใช่การขายของ
6. ทุกขั้นตอนการทำฟรีหมด พร้อมคำแนะนำอย่างละเอียดยิบ ไม่มีกั๊ก ไม่มีหวงความรู้ เผยแพร่จากประสบการณ์ตรง
7. คุณเป็นเจ้าของ 100% (สามารถพัฒนาต่อไปได้เรื่อยๆ ตามความต้องการ)
8. สามารถพิสูจน์เห็นผลได้จริง ฯลฯ

คุณพร้อมกันแล้วหรือยัง ? ถ้าพร้อมแล้วลุยกันเลยย!!!

Step 1 : การสมัคร Gmail

เครดิต by gatzaa
การสมัคร Gmail ไม่มีอะไรยุ่งยากนักแค่กรอกแบบฟอร์มเท่านั้น

1. คลิก >>> ที่นี่เพื่อสมัคร ที่นี่เพื่อสมัคร Gmail

2. จากนั้นคลิกที่ ลงทะเบียน Gmail (Sing Up For Gmail) จะปรากฎหน้าต่าง สร้างบัญชี

3. พิมพ์รายละเอียดตามที่ปรากฎให้ครบ (เป็นภาษาอังกฤษนะครับ)

First name : ชื่อใส่ชื่อเราลงไป

Last name : นามสกุลใส่นามสกุลเราลงไป

Desird Login Name : ชื่อการเข้าสู่ระบบที่ต้องการ

Check availability! : คลิกเพื่อตรวจสอบว่ามีผู้ใช้แล้วหรือยัง

Choos a password : รหัสผ่าน

Re-enter a password : กรอกรหัสผ่านอีกครั้ง

Security Question : เลือกคำถามที่ต้องการ

Answer : คำตอบ

Secondary email : เมล์สำรองเพื่อแจ้งปัญหา

Location : เลือกเป็น ราชอาณาจักรไทย

Thailand Word Verification : พิมพ์คำตามที่ปรากฎในรูปที่เห็น

4.คลิก I accept Create my account (ฉันยอมรับโปรดสร้างบัญชีของฉัน)

** Finished : เป็นอันเสร็จสิ้นการสมัคร Gmail ค่ะ **

Step 2 : การสมัคร Blogger

เครดิต by gatzaa
ขั้นตอนการสมัคร Blog สิ่งสำคัญต้องสมัคร Gmail มาเรียบร้อยก่อนจึงจะสมัคร Blog ได้สะดวก

1. คลิก >>> ที่นี่เพื่อสมัคร Blogger

2.คลิกที่ >>> สร้างเว็บบล็อกของท่านเดี๋ยวนี้ แล้วจะปรากฏหน้าต่างข้อมูล

3. ให้ใส่รายละเอียดดังนี้

ที่อยู่อีเมล : ใส่ Gmail ที่ได้สมัครไว้จากบทเรียนที่แล้ว

Enter Password : ใส่รหัสผ่าน

พิมพ์รหัสผ่านอีกครั้ง : ใส่รหัสผ่านอีกครั้งให้เหมือนกัน

Display name : ตั้งชื่อที่จะให้แสดงตอนโพสเว็บบล็อก

การรับรองความถูกต้องของคำ : พิมพ์ตามอักษรที่ปรากฎให้ถูกต้อง

Acceptance for Terms : ติ๊กให้มีเครื่องหมายถูก

คลิก >>>>> ดำเนินต่อไป

5. จากนั้นจะเข้าสู่การเลือกแม่แบบว่า เราต้องการเว็บบล็อกรูปแบบไหน มีให้เลือกมากมายตามต้องการ เมื่อคลิกเลือกแล้ว คลิกที่ >>> ดำเนินต่อไป

6. เพียงแค่นี้ คุณก็สามารถมีเว็บบล็อกเป็นของตัวเองไว้ใช้งานสำหรับทำเงินได้แล้ว

Step 3 : วิธีใช้งาน Blogger สร้างเว็บบล็อก

เครดิต by gatzaa
เราจะได้ศึกษาถึงวิธีการใช้งานเว็บบล็อกกันว่า วิธีการเพิ่มเนื้อหารายละเอียดเขาทำกันอย่างไร?

1. ให้เราคลิกที่ เริ่มต้นส่งบทความจะปรากฎหน้าต่างด้านล่าง ซึ่งจะให้เราใส่ข้อความ / รูปภาพ ตามความต้องการโดยการคลิกที่ สร้าง -ชื่อเรื่อง (คือหัวข้อเรื่องที่เราต้องการ) และมีพื้นที่สำหรับการใส่ข้อความ, รูปภาพเป็นต้น

2.หากใครที่ปิดขั้นตอนการทำงานไปแล้วจากบทที่ Step 2 แล้ว
ก็สามารถ Login เข้ามาใหม่โดย >>> คลิกที่นี่

3.ให้เราพิมพ์ E-mail ที่เราได้สมัครไว้กับ Gmail เช่น

-รหัสผู้ใช้ : xxxxxxxxx@gmail.com

-รหัสผ่าน : xxxxxxxxxxxx

4.จากนั้นคลิกที่ >>> ลงชื่อผู้ใช้งาน

ต่อมาเราจะมาดูวิธีการหาบทความ / รูปภาพมาใส่เว็บบล็อก
มา เริ่มสร้างสรรผลงานกันต่อครับ ในส่วนของการนำข้อความ/บทความมาใส่เว็บบล็อกของเรานั้น แนะนำให้ใช้เป็นภาษาอังกฤษก่อนนะครับ (เพื่อเอาเว็บบล็อกอันนี้ไปสมัคร AdSense ให้ผ่านก่อน เมื่อผ่านแล้วจะมาสร้างเว็บที่มีเนื้อหา ภาษาไทยก็ได้ครับ ย้ำว่า ครั้งแรกต้องเป็นภาษาอังกฤษให้ผ่านก่อน) ให้มีเนื้อหาพอสมควรเพราะว่าเราจะต้องใช้เว็บบล็อกอันนี้ในการขอสมัครใช้งาน จาก Google AdSense เพื่อที่จะนำโฆษณามาทำมาหากินได้

แหล่งรวบรวมบทความเนื้อหาภาษาอังกฤษฟรีๆ

1. http://www.goarticles.com/

2. http://www.contentmart.com/

3. http://www.superfeature.com/

4. http://www.freshcontent.net/

ต่อมาคือขั้นตอนการใส่บทความนะคับ
1.ให้ทำการคัดลอกเนื้อหาภาษาอังกฤษ มาวางไว้ในเว็บบล็อกของท่าน

2. เนื้อหาบทความในเว็บอย่างน้อยต้องไม่ต่ำกว่า 2 หน้ากระดาษ A4 เพื่อให้ทาง Google วิเคราะห์ เว็บไซต์ ถ้าเนื้อหาน้อยเกินไป อาจจะไม่ผ่าน เนื่องจากเป็นเว็บไม่ได้มาตรฐาน

3. ถ้าหากคุณใช้เว็บที่มีเนื้อหาเป็นภาษาไทย ณ ขณะนี้ ผมฟันธงได้เลยว่า จะสมัครไม่ผ่าน เนื่องจากทาง Google AdSense ยังไม่รองรับเว็บที่มีเนื้อหาภาษาไทยครับ แต่ถ้าเป็นเนื้อหาภาษาอังกฤษ และมีรายละเอียดมากพอสมควร ผมมั่นใจว่าต้องผ่านแน่นอนครับ

4.สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่ควรคำนึงถึง คือ แหล่งที่มาของเนื้อหา ให้เราบอกแหล่งที่มาด้วยจะดีมาก เป็นการให้เครดิตกับผู้เขียน

5.เมื่อได้เนื้อหาแล้ว ก็นำมาวางในพื้นที่สำหรับใส่เนื้อหา

วิธีการนำรูปภาพมาใส่เว็บบล็อกสามารถทำได้ดังนี้
1.คลิกที่ไอคอนรูปภาพเล็กๆ เมื่อนำเม้าส์ไปวางด้านบนจะขึ้นข้อความว่า เพิ่มรูปภาพ จากนั้นจะขึ้นหน้าต่างด้านการจัดตำแหน่งของรูปภาพ

2.จากนั้นคลิกที่ >>> Browse... เพื่อเลือกรูปภาพจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ

3.คลิกที่รูปแบบ (จะให้จัดรูปภาพไว้ตำแหน่งไหน)

4.คลิกเครื่องหมายถูกที่ [ / ] ข้าพเจ้ายอมรับข้อกำหนดในการให้บริการ

5.คลิก >>> อัพโหลดรูปภาพ

6. เสร็จขึ้นตอนการอัพโหลดรูปภาพ คุณสามารถคลิกที่รูปภาพแล้วลากไปที่ๆคุณต้องการได้ครับ เว็บไซต์ของคุณก็จะมีทั้งข้อความและรูปภาพน่าสนใจมากยิ่งขึ้น

7.จากนั้นคลิกที่ >>> เผยแพร่ (ปุ่มแดงด้านล่าง) เพื่อเสร็จสิ้นการจัดทำเว็บบล็อก

เทคนิคเล็กน้อย
1. คลิกที่ >>> View Blog (ดูบล็อก) เพื่อตรวจดูเว็บบล็อกของเรา2.เครื่องมือต่างๆ ท่านสามารถศึกษาได้เพิ่มเติม เพราะว่าเป็นภาษาไทยหมด เพียงเท่านี้คุณก็ได้มีเว็บบล็อกเพื่อสมัครเป็นของตนเองแล้ว

3. คุณสามารถที่จะสร้างเว็บบล็อกได้ไม่จำกัดหน้า สามารถตั้งหัวข้อใหม่ได้ไม่จำกัด ดังนั้นคุณสามารถที่จะเพิ่มเนื้อหา รายละเอียดต่างๆ ให้กับเว็บบล็อกของคุณให้น่าสนใจได้ตลอดเวลา

**เป็นอย่างไรบ้างครับกับการเรียนรู้การสร้างเว็บบล็อก Blogger ไม่ยากอย่างที่คิดนะครับ ตอนนี้เรามีเครื่องมือที่จะเดินทางกันแล้ว**

Step 4 : การสมัคร Google Adsense

เครดิต by gatzaa
ขั้นตอนการสมัคร Google AdSense
1.การสมัคร Google AdSense ดังที่เราได้แนะนำการสร้างเว็บบล็อกเป็นภาษาอังกฤษเรียบร้อยแล้ว

2.ในเว็บบล๊อค ให้คุณคริก สมัคร
Google AdSense

3.ให้ คริก >>> Sign up now (คือปุ่มการสมัครนั่นเอง)

4.จากนั้นให้ พิมพ์ข้อมูลต่างๆ ที่ทาง Google กำหนด โดยพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น ดังนี้

Website Information
- Website URL : [?] : ใส่ชื่อเว็บไซต์/บล็อกของคุณ เช่น : http://xxxxxxxxx.blogspot.com/
- Website language : เลือกภาษา ให้คุณเลือกเป็น : English - English

Contact Information
- Account type: [?] : เลือกประเภทของเว็บคุณ
(1.บุคคลธรรมดา : Individual)
(2.องค์กรธุรกิจ/บริษัท : Business)
- Country or territory : อยู่ในประเทศเลือก : ประเทศไทย
- Payee name : (full name) ชื่อผู้รับเงิน (ให้ใส่ทั้งชื่อ และนามสกุลของคุณ)
- Address line 1 : เลขที่ตั้ง ซอย ถนน
- Address line 2 (optional): แขวง/ตำบล
- City : เขต/อำเภอ
- State, province or region : จังหวัด
- Zip or postal code : รหัสไปรณีย์
- Phone : หมายเลขโทรศัพท์ เช่น 087-606-3510 ก็ใส่เป็น 66876063510
- Fax (optional) : หมายเลขโทรสาร (เว้นว่างไว้ก็ได้)

Product Selection
- AdSense for Content : ให้ทำเครื่องหมายถูก
- AdSense for Search : ให้ทำเครื่องหมายถูก
- Policies : ให้ทำเครื่องหมายถูก ทุกอัน (กฎเบื้องต้นของ AdSense)
- จะไม่คลิกโฆษณาบนเว็บของตัวเอง ให้คนอื่นคลิก
- ไม่วางโฆษณาในบริเวณกระตุ้นการคลิก เช่น Download
- ยินยอมที่จะให้สั่งจ่ายเช็คตามผู้รับด้านบน
- ไม่วางโฆษณาในเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม เช่น ลามกอนาจาร เป็นต้น
- คุณได้อ่านตามข้อกำหนดใน Adsense Program Policy แล้ว

5.เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จแล้ว ให้คลิกที่ >>> Submit Information

6.คลิกหัวข้อที่ 2 : I have an email address and password I already use.....

7.จากนั้นคลิกที่หัวข้อแรก : I'd like to use my existing Google Account for AdSense.

8.ใส่อีเมลและพาสเวิร์ด ของเรา (Gmail)

9. เป็นการแจ้งจาก Google AdSense ว่าจะให้ รอประมาณ 1-3 วัน เพื่อให้ทาง Google AdSense วิเคราะห์เว็บไซต์/บล็อกที่เราส่งไปสมัคร Google จะตอบกลับมาทางอีเมล์

ปล.ย้ำ ทาง Google จะวิเคราะห์ บล๊อกของเราประมาน 1-3 ดังนั้นให้เพื่อนๆคอยเช็ค Gmail ด้วยนะคับ

เมื่อ ทาง Google AdSense วิเคราะห์เว็บเราเสร็จแล้ว ก็จะแจ้งมาทางอีเมล เพื่อให้ยืนยันการมีตัวตนอีกครั้ง ให้เข้าไปดูที่อีเมลของเรา จะมีข้อความส่งมาจาก Google AdSense (ระยะเวลาในการส่งเมลมาประมาณ 1-3 วัน จากที่ได้สมัคร) ข้อความจะปรากฎด้านล่าง เป็นการแสดงความยินดี Welcome to Google AdSense



ให้คลิกที่ >> Visit https://www.google.com/adsense?hl=en US จากเมลของคุณ



จากนั้นคลิกเครื่องหมายถูกที่ [/] By Checking......I Accept และคลิกที่ I Accept ยอมรับ

หลังจากนั้น ให้ยืนยันข้อมูลทางภาษี
1. คลิกที่ หัวข้อ My Account

2. คลิกหัวข้อย่อย Tax Information และให้ทำเครื่องหมายที่วงกลม เลือก No และ กดปุ่ม Continue

3. หน้าถัดมา Do you have U.S. Activities related to you participation in AdSense? ให้เลือกNo และ กดปุ่ม Continue

4. หน้าถัดมา ให้ใส่ชื่อ - นามสกุลเป็นภาษาอังกฤษ ใน Signature of Publisher... และนี่ถือว่าเป็นลายเซ็นของคุณ และ กดปุ่ม >>> Submit information

5. เพียงเท่านี้ ก็ถือว่าได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาษีอย่างถูกต้องเรียบร้อยแล้ว

หลังจากนั้น ให้เลือกการรับเงินรายได้

1. คลิกที่ หัวข้อ My Account

2. คลิกหัวข้อย่อย Payment History

3. คลิกที่ Please select or verify a form of payment

4. ให้ทำเครื่องหมาย ที่วงกลม : Check - Standard Delivery และ กดปุ่ม Continue

5. ในหน้าถัดมา ให้เลือกสกุลเงินที่ต้องการ ให้เลือก Thai Baht (THB) และ กดปุ่ม Save change

**เพียงเท่านี้ คุณก็เป็น Publisher : ผู้เผยแพร่โฆษณาทางอินเทอร์เน็ต สามารถทำเงิน ด้วยการแสดงโฆษณา ด้วยธุรกิจของคุณเอง 100%**

Step 5 : นำโฆษณามาจาก Adsense

เครดิต by gatzaa
วิธีนำ Code โฆษณามาจาก Google AdSense
1. หลังจากสมัคร Google AdSense ผ่านเรียบร้อยแล้ว ให้คุณ Login เข้า
Google AdSense
2. เมื่อ Login เข้า Google AdSense เป็นที่เรียบร้อยแล้วให้คลิกที่ AdSense Setup จะมี Ads (โฆษณา) ให้เลือก 3 รูปแบบ ดังนี้

(1.) AdSense for content : เป็นโฆษณาที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับเว็บไซต์ ซึ่งแบ่งออก 2 ข้อย่อย ดังนี้

- Ad unit : สร้างโฆษณาแบบข้อความอย่างเดียว, สร้างโฆษณาแบบรูปภาพอย่างเดียว หรือ สร้างโฆษณาแบบข้อความสลับแบบรูปภาพก็ได้ โดยโฆษณานั้นจะมีเนื้อหาสอดคล้องกับเนื้อหาเว็บไซต์ของคุณ ในแต่ละหน้าเว็บเพจติดได้ 3 อัน

- Link unit : สร้างโฆษณาแบบลิงค์ ซึ่งลักษณะโฆษณาเหมือนลิงค์ หรือ หัวข้อของเว็บไซต์ ซึ่งโฆษณานั้นก็จะมีเนื้อหาสอดคล้องกับเนื้อหาเว็บไซต์ของคุณ เช่นกัน ในแต่ละหน้าเว็บเพจติดได้ 3 อัน

3. เมื่อเลือกได้แล้วว่าต้องการโฆษณาอันไหน จากนั้นกดที่ปุ่ม Continues >>

4. หน้าถัดมานี้ ให้เรากำหนด
- Format : ให้เลือกขนาดของโฆษณา - Colors : เป็นการปรับแต่งสีของโฆษณาให้เหมาะกับเว็บ/บล็อกของเรา - Corner Styles : เป็นการเลือกรอบโฆษณา เช่น กรอบสี่เหลี่ยม ฯลฯ เมื่อได้ตามต้องการแล้ว คลิกปุ่ม Continues >>>

5. จากนั้นจะเห็นแถบ Add new Channel เป็นการกำหนดว่าจะนำโฆษณาชุดนี้ไปติดที่เว็บไหน เพื่อที่จะรู้ว่าเว็บไหนทำเงิน
ในส่วนนี้จะเพิ่มหรือไม่เพิ่มก็ได้ ถ้าไม่ต้องการ ก็สามารถคลิก Contines >> ได้เลย
- เพียงเท่านี้เราก็จะได้โค๊ดโฆษณาทำเงินสำหรับติดที่เว็บ/บล็อกแล้วครับ
- ให้ คัดลอก(Copy) Code แล้วเปิดโปรแกรม Notepad (ซึ่งจะมีอยู่ทุกเครื่องไปที่ Start > Programs > Accessories > Notepad) จากนั้นให้ วาง(Paste) Code ใส่ในโปรแกรม Notepad และ Save เก็บไว้สามารถนำมาใช้ได้ทุกเวลาโดยไม่ต้องมาสร้างใหม่ครับ

(2.) AdSense for search : เป็นการสร้าง Code โฆษณา เพื่อจะได้กล่องสำหรับค้นหาเว็บไซต์ เป็นกล่องค้นหา สำหรับมาติดในเว็บไซต์ ซึ่งผู้เยี่ยมชมใช้ค้นหาเว็บไซต์ได้ทั่วโลก และยังใช้ในการค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์ของคุณก็ได้ สามารถปรับแต่งกล่องค้นหาเว็บไซต์ ให้เข้ากับเว็บไซต์ของคุณได้อีกด้วย ในแต่ละหน้าเว็บเพจติดได้ 2 อัน มีขั้นตอนในการนำโค๊ดดังนี้
1. ไปที่ AdSense Setup

2. คลิกที่ AdSense for Search
จากนั้นจะพบกับ Search Type ซึ่งมีให้เลือก 2 อย่างคือ
- Google WebSearch :
- Google WebSearch + SiteSearch

3. สามารถเลือกได้ว่าจะให้ค้นหาจาก Google อย่างเดียว หรือให้ค้นหาในเว็บไซต์ของเราด้วย ถ้าต้องการให้ค้นหาในเว็บของเราด้วย ก็ให้ใส่ชื่อเว็บของเราลงไป

4. ในส่วนของ Search box style เป็นการปรับแต่ง Search Box ทดลองปรับดูนะครับให้เหมาะกับเว็บเรา

5. ต่อมาในส่วนของ Site language เป็นการเลือกภาษา ให้เลือกเป็น English

6. ในส่วนของ Opening of search results page เป็นการกำหนดว่า เมื่อคลิกค้นหาแล้ว จะให้แสดงในหน้าต่างเดียวกัน หรือเปิดเป็นหน้าใหม่
- ในส่วนของ Your site encoding เป็นการเลือกว่าเว็บของเรานั้นใช้รหัสแบบใด แนะนำให้เลือกเป็น Unicode (UTF-8) จากนั้นคลิก Contines>> คลิก Contines >>>
- เพียงเท่านี้เราก็ได้โค๊ดโฆษณาของกล่องค้นหา Search Box แล้วครับ

(3.) Referrals : เป็นโฆษณาเพื่อแนะนำบริการต่าง ๆ ของ Google
รายได้จากการแนะนำสินค้าและบริการของ Google มีให้เลือกมากมาย แต่ของ Google มีอยู่ 3 อันหลักๆ ดังนี้
- Google AdSense : แนะนำ AdSense ในแต่ละหน้าเว็บเพจติดได้ 1 อัน
- Google AdWords : แนะนำ AdWords ในแต่ละหน้าเว็บเพจติดได้ 1 อัน
- Firefox : แนะนำให้ดาวน์โหลด Firefox ในแต่ละหน้าเว็บเพจติดได้ 1 อัน

ขั้นตอนในการนำโค๊ดโฆษณามาใช้งาน
1. ไปที่ AdSense Setup

2. คลิกเลือที่ Referrals

3. จากนั้นจะเห็น All Product สินค้ามากมาย ซึ่งทุกตัวจะทำขั้นตอนเดี่ยวกัน ดังนั้นในที่นี้จะขอยกตัวอย่าง 1 สินค้า เป็น Firefox ก็แล้วกันนะครับ

- คลิกที่ View products (อยู่ต่อจาก Google Products >>> View Products) จะเห็นสินค้าอยู่ 3 ตัว ให้เลือกเอาว่าต้องการอันไหน เช่น ผมต้องการสินค้า Firefox ก็คลิกที่ Firefox plus Google Toolbar
- จากนั้นจะเห็นรูปแบบต่างๆ ขนาดต่างๆ ของสินค้า สามารถเลือกได้ตามต้องการครับ โดยคลิกให้มีเครื่องหมายถูกด้านหน้า
- จากนั้นคลิก Continues >>> (อยู่ด้านล่างสุด)
- เพียงเท่านี้ก็ได้โค๊ดสินค้า FireFox เพื่อทำเงินแล้ว

Step 6 : การติดโฆษณาลง Blog

เครดิต by gatzaa
ในบทเรียนนี้ จะได้เรียนรู้วิธีนำ Code มาติดที่บล็อกของเรา เพื่อไม่เป็นการเสียเวลา เริ่มกันเลยค่า

1.Login เข้าไปที่ >>> Blogger.com

2.ใส่รหัสผู้ใช้อีเมลของคุณ xxxxxx@gmail.com และ รหัสผ่าน xxxxxxxxxx ของท่าน

3.จะปรากฎหน้าต่าง จัดการบล็อกของคุณ (Dashboard) ให้เราคลิกที่ >>> เลย์เอาต์(รูปแบบ)

4.จากนั้นคลิกที่ >>> เพิ่มองค์ประกอบของหน้า

5.จากนั้นคลิกที่ >>> HTML/จาวาสคริปต์

6.ให้นำ Code ที่ได้นำมาจาก AdSense นำมาใส่ที่กรอบเนื้อหา

7.จากนั้นคลิกที่ >>> จัดเก็บการปรับเปลี่ยน

8. จะเห็นแถบ HTML/จาวาสคริปต์ ที่เก็บโฆษณาอยู่ ซึ่งเราสามารถที่จะคลิกลากไปยังตำแหน่งที่ต้องการได้ คลิกซ้ายที่ HTML/จาวาสคริปต์ค้างไว้แล้วลากไปทางซ้าย ทางขวา ด้านบน หรือได้ล่างก็ได้ครับ

9.จากนั้นคลิกที่ >>> บันทึกข้อมูล >>> คลิกที่ >>> ดูบล็อก

**เพียงเท่านี้บล็อกของคุณก็มีโฆษณาเพื่อทำเงินให้คุณได้แล้ว**

Step 7 : การโปรโมท Blogger

เครคิต by gatzaa
การโปรโมทเว็บบล็อกโดยการ แนะนำเว็บไซต์/บล็อกของเรากับ Search Engine นั่นเอง

แหล่งรวม Search Engine , Submit URL กับ Search Engine ชื่อดัง

http://www.google.com/addurl.html

http://search.yahoo.com/info/submit.html

http://search.msn.co.in/docs/submit.aspx

http://www.exactseek.com/add.html

http://www.look.com/remote/submiturl.asp

http://www.dmoz.org/add.html

http://www.altavista.com/addurl/default

http://www.alexa.com/support/get_archive.html

http://www.aesop.com/cgi-bin/aesopadd.cgi

http://www.exactseek.com/add.html

http://theyellowpages.com/ysubmit.htm

http://www.goguides.org/info/addurl.htm

http://www.netsearch.org/addurl.html

http://www.entireweb.com/addurl?page=basic

- รวม Search Engine กว่า 350 เว็บ >>> http://seo-promote.blogspot.com/

- แหล่งโปรโมทเว็บในไทย >>> http://www.bcoms.net/promoteweb/addweb.asp

- แหล่งโปรโมทเว็บต่างประเทศ >>> http://www.bcoms.net/eng_tipcomputer/addurl.asp

- เข้าไปโพสต์ข้อความตามเว็บบอร์ดต่างๆ พร้อมทิ้งที่อยู่ของเว็บไว้ด้วย (กลยุทธ์เอาเหยื่อไปล่อ)

- อีกวิธี ที่จะทำให้เว็บเป็นที่รู้จักด้วยการทำ E-mail List

- เล่น msn หรือ Yahoo Messenger หรือ Chat

- แลกลิงค์ (link)

** เมื่อคุณได้เดินทางมาถึงขั้นนี้แล้ว หมั่นโปรโมทเว็บไซต์ให้เป็นที่รู้จัก คงไม่นานจะมีรายได้จากธุรกิจ จับเสือมือเปล่านี้อย่างแน่นอน *-*

Step 8 : การตรวจเช็ครายได้ / รับเงิน

เครดิต by gatzaa
การตรวจเช็ครายได้จะทำให้รู้ว่าแต่ละวันคุณทำเงินได้เท่าไรบ้าง

เมื่อเรา Login เข้า Google AdSense จะเห็นยอดเงินประจำวันของคุณ
Today's Earnings : $9999.00 คุณสามารถเลือกดูได้จาก View ว่า

- วันนี้คุณได้เท่าไหร่

- เมื่อว่านนี้ ได้เท่าไหร่

- 7 วันล่าสุดได้เท่าไหร่

- เดือนนี้ ได้เท่าไหร่

- เดือนล่าสุด ได้เท่าไหร่

- รวมทั้งหมดได้เท่าไหร่

Google จะจ่ายเงินให้คุณก็ต่อเมื่อคุณมีรายได้ครบ 100$ เมื่อคุณมีรายได้ 50$ ทาง Google จะส่ง PIN มาให้คุณ ทางจดหมาย ตามที่อยู่ที่ได้สมัครไว้ ดังนั้นให้ตรวจเช็คที่อยู่ของคุณให้ถูกต้องนะค่ะ ไม่ต้องกลัวว่าเขาจะไม่ส่งมา ระยะเวลาในการจัดส่งอยู่ประมาณ 3-4 สัปดาห์ แต่ของเรารอประมาณ 18 วัน

การกรอกข้อมูล PIN

1.ให้ Login เข้า Google AdSense จากนั้นจะเห็นข้อความ You payments are currently on hold.
Action is required to release payment Click here for details ให้คลิกที่ Click here for details

2.ที่ Required Action ให้คลิกที่ Please enter your PIN

3.ใส่หมายเลข PIN ของคุณ แล้วคลิก Submit PIN เสร็จสิ้นขั้นตอนการยืนยันการมีตัวตนเพื่อรับเงิน

4. จากนั้นเมื่อเราทำยอดถึง 100$ ทาง Google จะส่งเช็คมาให้รอสัก 1-3 สัปดาห์มาถึงเราให้คุณนำเช็คนั้น ไปขึ้นเงินที่ธนาคาร ถ้าคุณเลือกรับเงินเป็น Thai Baht คุณจะได้รับเช็คเร็วมากประมาณวันที่ 7 ก็จะได้รับเช็คแล้ว เช็คที่ส่งมาให้จะออกโดย ซิตี้แบงค์ สีลม นี่เองค่ะ

บท ความ : คุณชอบเลข 8 ไหมค่ะ ? เราคนนึงที่ชอบเลข 8 ค่ะ เพราะเวลามองแนวนอนก็จะเหมือนเครื่องหมาย Infinity ก็คือ ไม่มีวันสิ้นสุด แต่ถ้ามองแนวนอนก็จะเหมือนกับ ตุ๊กตาล้มลุกของญี่ปุ่น ซึ่งมีความหมายว่า ไม่ว่าจะล้มสักกี่ครั้งก็จะยังลุกขึ้นมาเหมือนเดิม.

ที่มาของรายได้

เครดิต by gatzaa
มีวิธีคำนวณรายได้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1.ผลตอบแทนจาก โฆษณาที่เกี่ยวข้องเนื้อหาของเว็บไซต์
2.ผลตอบแทนจาก การค้นหาเว็บไซต์
3.ผลตอบแทนจาก การแนะนำ

1.ผลตอบแทนจากโฆษณาที่เกี่ยวข้องเนื้อหาของเว็บไซต์ (AdSense for Content)
ผล ตอบแทนจากโฆษณาที่เกี่ยวข้องเนื้อหาของเว็บไซต์ เป็นผลตอบแทนจากโฆษณาที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องและกลมกลืนกับเนื้อหาในเว็บไซต์ เช่น เว็บไซต์เกี่ยวกับวิธีการหาเงินทางอินเทอร์เน็ต ก็จะมีโฆษณาที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการทำงานหาเงินทางอินเทอร์เน็ตก็คือ เว็บไซต์มีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไรโฆษณาก็เป็นโฆษณาเหมือนกับเนื้อหาในเว็บไซต์ นั่นเอง

วิธีคำนวณผลตอบแทน
(1.) จ่ายผลตอบแทนเมื่อคลิก (Pay Per Click - PPC)
ผล ตอบแทนจากการคลิกโฆษณา เมื่อผู้เยี่ยมเว็บไซต์ได้คลิกที่โฆษณาของ Google ทำให้เว็บไซต์ได้รับผลตอบแทนทันทีเมื่อคลิก โดยแต่ละโฆษณาที่คลิกจะได้รับผลตอบแทนไม่แน่นอน ผลตอบแทนมาก หรือน้อย นั้นขึ้นอยู่กับผู้ที่ลงโฆษณากับ Google Adwords ว่าลงโฆษณาได้ในราคาที่สูง หรือต่ำ ถ้าหากลงโฆษณาในราคาสูงไว้ ผลตอบแทนจากคลิกโฆษณานั้นก็สูงตามไปด้วยเช่นกัน แต่ถ้าในทางกลับกัน ถ้าได้ลงโฆษณาในราคาต่ำ ผลตอบแทนจากคลิกโฆษณานั้นก็ย่อมได้น้อยด้วยเช่นกัน นั่นเอง

(2.) จ่ายผลตอบแทนเมื่อแสดงโฆษณา (Pay Per Impression - CPM)
ผล ตอบแทนเมื่อแสดงโฆษณา ทุกครั้งเมื่อมีผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ที่มีโฆษณาของ Google ก็จะเกิดรายได้จากการแสดงโฆษณา โดยมีเงื่อนไขอยู่ว่า จะนำมาคำนวณรายได้ก็ต่อเมื่อมีการแสดงโฆษณา ครบ 1,000 ครั้ง แต่จะต้องมีผู้เยี่ยมชมคลิกโฆษณาด้วย โดยไม่นับว่าจะมีคนคลิกกี่ครั้งก็ตาม หรือ ที่เรียกว่า Cost Per Thousand Impression (CPM)

สรุปรายได้จากการแสดงโฆษณานี้จะโดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
(1.1) แสดงโฆษณา ครบ 1,000 ครั้ง
(1.2) ต้องมีผู้เยี่ยมชมคลิกโฆษณาด้วย ถ้าหากไม่มีผู้คลิกโฆษณาเลย รายได้นี้ก็ยังไม่คิดให้จนกว่าจะมีผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์คลิกโฆษณาด้วยเท่า นั้น

2. ผลตอบแทนจาก.. การค้นหาเว็บไซต์ (AdSense for Search)
ค้น หาแล้วจะพบรายชื่อเว็บไซต์โฆษณาอยู่ในตำแหน่งสปอนเซอร์ ซึ่งอยู่ด้านบน และด้านล่างของหน้าผลลัพธ์ที่ได้ค้นหา ถ้าผู้เข้าชมคลิกโฆษณาในตำแหน่งดังกล่าว เว็บไซต์เราก็จะได้รับรายได้ มีตัวอย่างกล่องค้นหาเว็บไซต์ที่สามารถใช้งานได้จริง โดยผลตอบแทนก็คิดคำนวณเหมือนกับ ข้อ 1.1 และ ข้อ 1.2

3. รายได้ของโฆษณาจากการแนะนำบริการ (Referrals)
นอกจากนี้ Google AdSense ยังให้โอกาสการสร้างรายได้จากโฆษณา แบบแนะนำบริการต่างๆ ของ Google อีกด้วย ก็คือ เมื่อมีผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์คลิกโฆษณาแนะนำบริการ และได้ใช้บริการนั้นๆ คุณก็ได้รับรายได้อีกด้วย ได้แก่

(1.) แนะนำสมัคร Google AdSense
คุณจะได้รับรายได้เมื่อมีคนมาลงทะเบียนเป็นสมาชิก Google AdSense โดยคลิกโฆษณาจากเว็บไซต์ของคุณ และผู้สมัครคนนั้น ทำรายได้เกิน $5 ภายใน 180 วัน นับจากวันสมัคร คุณก็จะได้รับ $5 ด้วยเช่นกัน และ ถ้าผู้สมัครคนนั้น ทำรายได้ครบ $100 ภายใน 180 วัน นับจากวันสมัคร คุณก็จะได้รับ $250 อีก ถ้าผู้สมัครคนนั้น ภายในช่วงระยะเวลา 180วัน หรือ ครึ่งปี

ถ้าคนที่สมัคร ผ่านจากการแนะนำของคุณ 25 คน แล้วทำได้เกิน $100 ภายใน 180 วัน นับจากวันสมัคร คุณจะได้รับโบนัส $2,000 (โดย bonus limit แค่ครั้งเดียวต่อ1ปี หรือหมายถึงถ้าเราหาได้ 50 คนแล้ว 50 คนทำได้หมดเราก็ได้ bonus แค่ 25คนแรกนั้น)

(2.) แนะนำสมัคร Google AdWords
คุณจะได้รายได้เมื่อมีคนมาลงทะเบียนเป็นสมาชิก เพื่อใช้บริการ Google AdWords โดยคลิกโฆษณาจากเว็บไซต์ของคุณ และผู้สมัครคนนั้น ใช้บริการของ Google AdWords $5 ภายใน 90 วัน นับจากวันสมัคร คุณจะรับรายได้ $5 และ ผู้สมัครคนนั้น ใช้บริการของ Google Adwords $100 ภายใน 90 วัน นับจากวันสมัคร คุณจะได้รับ $40 ถ้าภายในช่วงระยะเวลา 180 วัน หรือ ครึ่งปี

ถ้า คนที่สมัครผ่านการแนะนำของคุณ 20 คน ใช้บริการของ Google Adwords $100 ภายใน 180 วัน นับจากวันสมัคร คุณจะได้รับโบนัสจาก Google จำนวน $600 (โดย bonus limit แค่ครั้งเดียวต่อ1ปี หรือหมายถึง ถ้าเราหาได้ 40 คน แล้วใช้บริการของ Google Adwords ได้ตามเป้าทุกคน คุณจะรับได้โบนัส 20 คนเท่านั้น)

(3.) Firefox : ดาวน์โหลด ฟรี!
โปรแกรมท่องอินเตอร์เน็ตได้เร็วกว่า Internet Explorer และมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีอีกด้วย
คุณ จะได้รายได้เมื่อมีคนมาคลิกโฆษณาจากเว็บไซต์ของคุณ และดาวน์โหลดโปรแกรมไปใช้ โดยจะต้องเป็นการดาวน์โหลดครั้งแรก ก็คือไม่เคยดาวน์โหลดโปรแกรมไปใช้มาก่อน ซึ่งทาง Google ก็จะมอบรายได้จากการแนะนำของคุณ จำนวน $1 ทันที

(4.) Google Apps
Google Apps คือระบบที่เหมาะสำหรับองค์กรธุรกิจ โรงเรียน มหาวิทยาลัย ซึ่งในระบบจะมีบริการต่างๆที่สมาชิกในกลุ่มใช้ได้ เช่น อีเมลล์ ระบบการการสนทนาผ่าน Instant Massaging ระบบปฎิทิน ที่ทุกคนสามารถเข้าไปใช่ร่วมกันได้ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่างภายในสมาชิก ระบบทั้งหมด Google เป็นผู้ให้บริการ โดยที่คุณไม่ต้องลงทุนอุปกรณ์และค่าซอฟท์แวร์แต่อย่างใด รวมถึงไม่ต้องเสียค่าบำรุงรักษา

คุณ จะได้รับ $5 จากที่มีผู้สนใจคลิกโฆษณา Google Apps ผ่านเว็บไซด์ของคุณและได้ทำการลงทะเบียนอย่างเสร็จสมบูณณ์ อย่างไรก็ตามหากผู้ที่สนใจไม่ได้สมัคร Google Apps ทันทีก็ตามระบบจะเก็บขอมูลการคลิกโฆษณา Google Apps จากเว็บไซด์ของคุณต่ออีกเป็นเวลา 4 สัปดาห์ นั่นหมายถึงเขาอาจจะสมัครหลังจากนั้นก็ได้ แล้วคุณก็ยังได้รับรายได้อยู่

(5.) Google Checkout
Google Checkout คือระบบการจับจ่ายซื้อสินค้าที่สะดวก ปลอดภัยและรวดเร็ว ด้วยระบบการรับชำระของ Google Checkout คุณสามารถทำรายการสั่งซื้อและจ่ายค่าสินค้าตลอดจนตรวจสอบรายการ การสั่งซื้อหรือการจ่ายค่าสินค้าได้ด้วยตัวเองผ่านหน้าเว็บไซด์

คุณ จะได้รับ $1 ถ้ามีผู้ที่สมัครบัญชี Google Checkout ผ่านการแนะนำจากเว็บไซด์ของคุณ และได้ทำรายการสั่งซื้อสินค้าภายใน 90 วันและรายการทุกอย่างเสร็จสมบูรณ์จนการชำระค่าสินค้าเสร็จสิ้น โดยมูลค่าของสินค้าต้องมีมูลค่า $10 ขึ้นไป ก่อนที่รวมภาษีและค่าขนส่ง ภายใน 7 วัน

29 กันยายน 2552

Developing Documentation During System Development

by: Narain Balchandani


System documentation and user documentation are the two types of documents. System documentation is required for better understanding and maintenance of the application software. User documentation is designed to help the user operate the system. A good-quality document requires designing the documents, writing and editing the text, and testing them, and hence takes longer time for documentation. Lower-quality documentation can be produced faster. Nowadays online documentation is becoming more important compared to traditional paper-based manuals. Users are more familiar with paper-based documents and these are simpler to use. Although online documents require people to be familiar with additional software commands, searching for information is easier in online documents. These also enable the users to interact with the document.

There are mainly three types of user documentation: reference documents, procedure manuals and tutorials. Reference documents are used when the user needs to learn how to perform a specific function. Procedure manuals describe how to perform business tasks. Tutorials teach people how to use major components of the system.

Introduction

There are two types of documents.

System documentation is intended to help programmers and systems analysts understand the application software and enable them to build it or maintain it after the system is installed. System documentation is a by-product of the system analysis and design process, and is created as the project unfolds.

Each step and phase produce documents that are essential in understanding how the system is built or is to be built, and these documents are stored in the project binder(s).

User documentation (such as user’s manuals, training manuals and online help systems) is designed to help the user operate the system. Although most project teams expect users to have received training and read the user’s manuals before operating the system, unfortunately this is not always the case. It is more common today – especially in the case of commercial software packages for microcomputers – for users to begin the software without training or reading the user’s manual.

User documentation is often left until the end of the project, which is a dangerous strategy. Developing a good documentation takes longer than many people expect because it requires much more than simply writing a few pages.

Producing documentation requires designing the documents (whether paper or online), writing the text, editing them and testing them. For good-quality documentation, this process usually takes about 3 hours per paper page (single-spaced) for paper-based documentation or 2 hours per screen for online documentation.

Thus, a “simple” set of documentation such as a 20-page user’s manual and a set of 20 help screens take 100 hours. Of course, lower-quality documentation can be produced faster.

The time required to develop and test user documentation should be built into the project plan. Most organizations plan for documentation development to start once the interface design and program specifications are complete. The initial draft of documentation is usually scheduled for completion immediately after the unit tests are complete.

This reduces – but does not eliminate – the need for the documentation to be tested and revised before the acceptance tests is started.

Although paper-based manuals are still significant, online documentation is becoming more important. Paper-based documentation is simpler to use because it is more familiar to users, especially novices who have less computer experience; online documentation requires the users to learn one more set of commands. Paper-based documentation is also easier to flip through to gain a general understanding of its organization and topics, and can be used far away from the computer itself.

There are four key strengths of online documentation that all but guarantee that it will be the dominant format form for the next century. First, searching for information is often simpler (provided the help search index is well designed). The user can type in a variety of keywords to view information instantaneously, rather than having to search through the index or table of contents in a paper document. Second, the same information can be presented several times in many different formats, so that the user can find and read the information in the most informative way.

Third, online documentation enables the users to interact with the documentation. For example, it is possible to use links or “tool tips” (i.e., pop-up text) to explain unfamiliar terms, and programmers can write “show me” routines that demonstrate on the screen exactly what buttons to click and text to type. Finally, online documentation is significantly less expensive to distribute and keep up-to-date than paper documentation.

Types of Documentation

There are fundamentally three different types of user documentation: reference documents, procedure manuals and tutorials. Reference documents (also called the help system) are designed to be used when the user needs to learn how to perform a specific function (e.g., printing a monthly report, taking a customer order). Typically, people read reference information only after they have tried and failed to perform the function. Writing reference documentation requires special care because users are often impatient or frustrated when they begin to read them.

Procedure manuals describe how to perform business tasks (e.g., printing a monthly report, taking a customer order). Each item in the procedures manually guides the user through a task that requires several functions or steps in the system. Therefore, each entry is typically much longer than an entry in a reference document.

Tutorials teach people how to use major components of the system (e.g., an introduction to the basic operations of the system). Each entry in the tutorial is typically longer than the entities in procedure manuals and the entities are usually designed to be read in sequence, whereas entries in reference documents and procedure manuals are designed to be read individually.

Regardless of the type of user documentation, the overall process for developing it is similar to the process of developing interfaces. The developer first designs the general structure for the documentation and then develops the individual components within it.

Documentation and managing the documentation in company’s Intranet are critical for a company, and the resource spent on it is worthwhile. For more info on these topics and training refer to Business Analysis & Data Modeling Training Bangalore